เว็บ www.pk-beauty.com มี จําหน่าย Gluta และ สินค้าเกี่ยวกับ Gluta มากมาย

 Gluta คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร
Gluta หรือ กลูต้าไธโอนเป็นพันธะเปปไทด์ของกรดอะมิโน 3 ตัว ได้แก่ ซีสเตอีน กลูตาเมต และไกลซีน กลูต้าไธโอนอยู่ในรูป reduced (GSH) และ oxidized (GSSG) โดย GSSG ถูก reduced ด้วย Glutathione reductase สาร ascorbic acid จะเพิ่มการออกฤทธิ์ของ GSH ซึ่ง alpha lipoic acid (ALA) เพิ่มการออกฤทธิ์ของกลูต้าไธโอนอาจกลับมาเป็น GSSG

ลักษณะของกลูต้าไธโอน
กลูต้าไธโอนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระภายในเซลล์พบมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเซลล์ตับ (จนถึง 5 mM)
กลูต้าไธโอนถูกสังเคราะห์โดย Glutathione synthase โดยการใช้กรดอะมิโน 3 ชนิด : L-cysteine, L-glutamate และ glycine
ตามธรรมชาติมี 2 รูปแบบ ได้แก่ reduced Glutathione (GSH) และ oxidized Glutathione disulphide (GSSG)
อำนวยความสะดวกต่อการทำงานของภูมิคุ้มกัน
เป็นสาร mitochondrial antioxidant
เป็นสาร co-factor/ เอนไซม์ใน phase I enzymatic detoxification pathway
Phase II detoxification pathway
การป้องกันระบบประสาท

การลดลงของกลูต้าไธโอน
แสดงให้เห็นเด่นชัดอย่างเฉียบพลันในการขาดกลูต้าไธโอนเมื่อรับประทานยาพาราเซตามอลเกินขนาด
ผลของการลดลงของกลูต้านี้เกิดใน hepatocyte ชักนำให้ตับวายและเสียชีวิตได้
การขาดกลูต้าไธโอนเรื้อรังมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติทางภูมิคุ้มกัน เพิ่มการเกิดเนื้อร้าย และในกรณีโรคเอดส์ อาจเร่งให้เกิดโรคขึ้นมาได้
การขาดกลูต้าไธโอนเป็นผลใน tissue oxidative stress สามารถเกิดโรคได้ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ที่เป็น G6PD (glucose 6-phosphate dehydrogenase deficiency) ทำให้เกิดปริมาณ NADPH และ reduced Glutathione ลดลง
Oxidative stress เป็นสาเหตุให้ขาดกลูต้าไธโอนใน fragile erythrocyte membranes

ข้อบ่งใช้และการใช้ประโยชน์
รักษาพิษจากยาพาราเซตามอล
ใช้เบื้องต้นสำหรับ : มะเร็งบางชนิด โรคไขมันอุดตันที่ผนังหลอดเลือด (atherosclerosis) โรคเบาหวาน ปอดมีความผิดปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคปอดอุดกั้น สูญเสียการได้ยินเนื่องมาจากเสียง ผู้ชายที่เป็นหมัน ป้องกันหรือทำให้พิษดีขึ้น ต้านเชื้อไวรัส ยากำพร้าในการรักษาเอดส์ที่สัมพันธ์กับภาวะขาดสารอาหาร

ผลข้างเคียง
ผิวหนังแดง
ความดันโลหิตต่ำ
หอบหืดเฉียบพลัน
อาจเกิด anaphylactic reaction จากการปนเปื้อนหรือความไม่บริสุทธิ์

ข้อห้ามและควรระวังเป็นพิเศษ
ผู้ที่แพ้ยาฉีดกลูต้าไธโอน
ผู้ที่ปลูกถ่ายอวัยวะ
แพ้, หอบหืด

สารที่ทำให้ขาดกลูต้าไธโอน
การสูบบุหรี่
ดื่มแอลกอฮอล์
คาเฟอีน
ยาพาราเซตามอล
ยา
ออกกำลังกายหนัก
รังสี X Y และยูวี
Xenobiotics
Estradiol

บทบาทของกลูต้าไธโอนในยาแผนปัจจุบันและยาแผนทางเลือก
พิษจากยาพาราเซตามอล
โรคมะเร็ง
xenobiotics detoxification
โรคพาร์คินสัน
โรคอัลไซเมอร์
เพิ่มภูมิคุ้มกัน เอดส์ ต้านเชื้อไวรัส เชื้อ herpes simplex virus type I
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
สูญเสียการได้ยินเนื่องจากเสียง
ผู้ชายที่เป็นหมัน
ออทิสติก
โรคเหนื่อยเรื้อรัง
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ความดันโลหิตสูง
metabolic syndrome
autoimmune thyroiditis

โดย : นายแพทย์ฉัตรชัย ศรีบัณฑิต

กลูต้าไธโอนพบมากในผลไม้ ได้แก่ แตงโม สตรอเบอรี่ องุ่น ผลอโวกาโด ส่วนในผักพบมากใน หน่อไม้ฝรั่ง สำหรับเนื้อสัตว์จะพบได้ใน ปลา และเนื้อแดง เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว
แต่มีในปริมาณน้อยไม่เพียงพอที่จะยับยั้งเม็ดสีผิวได้ จึงจำเป็นต้องทานเป็นสารกลูต้าไธโอนเพียวๆ เพื่อประโยชน์ในจุดนี้

รับมากเกินไปก็ไม่เกิดอันตราย เพราะกลูต้าไธโอนจะถูกขับออกทางปัสสาวะทุกวัน ไม่สะสมในร่างกาย เพราะฉนั้นหากกินมากไปก็ไม่เกิดผลเสียต่อร่างกาย

ใส่ความเห็น